ผู้นำแห่งอนาคต
Leadership for the Future

“เพราะความฮู้มีอยู่สุเเก” | รู้จัก มหา’ลัยไทบ้าน #เรียนรู้ดูทำ

ในยุคที่การศึกษาเปลี่ยนผันตามความเปลี่ยนแปลง โรงเรียนและมหาวิทยาลัยในระบบปัจจุบัน อัดฉีดความรู้ได้เพียงพอไหม “ความฮู้มีอยู่สุเเก” เสียงนักเรียนรู้ ‘มหาลัยไทบ้าน’ ดังก้อง สื่อความภาษาอีสานเป็นคำตอบบนความเชื่อว่า “ความรู้มีอยู่ทุกที่” และตอนนี้พวกเขาได้สร้างพื้นที่แห่งการเรียนรู้เพื่อแชร์ภาพฝันให้ชัดเจนขึ้นใน อ.สีชมพู อ.ภูผาม่าน จ.ขอนแก่นและอ.ภูกระดึง จ.เลย

ครูก่อการปั่น สังเกตกายใจ เห็นอะไรที่ซ่อนอยู่

ถ้าพูดถึง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผมคิดว่าหลาย ๆ คน คงจะนึกถึงกิจกรรมที่มีอยู่ในหลักสูตรของโรงเรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ แล้วปั่นจักรยานมันเป็นกิจกรรมส่วนไหนของการศึกษาในระบบ มีอะไรซ่อนอยู่ ผมขอชวนผู้อ่านจินตนาการว่ากำลังนั่งบนเบาะ แล้วปั่นจักรยานไปพร้อมกับเรา

“กาฬสินธุ์ศึกษา” ปลายฝันชุมชนแห่งการเรียนรู้

ครูผู้มีความรักในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการเป็นครูย้อนไปช่วง 3 ปีก่อนว่าได้ออกเดินทางไปกับเพื่อนครูคู่ชีวิต นำปลายทางฝันพร้อมแรงบันดาลใจ ไปเติมความรู้และหาแนวร่วมจากกระบวนการพัฒนาครูรูปแบบใหม่ที่มีชื่อว่า “ก่อการครู” รุ่นแรก ที่คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กับเครือข่ายองค์กรภาคีที่ทำงานด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ได้ปลุกปั้นขึ้นถึงแม้ในบริบทความเป็นชุมชน “

การศึกษาความเป็น “ไท” โดยเหล่าครูก่อการและหนุ่มสาวไทบ้าน

เราเชื่อมาตลอดว่าการเรียนรู้ที่สนุก ทรงพลัง และมีความหมายมากที่สุด คือเรียนแบบไม่รู้สึกว่ากำลังเรียน กลุ่มคนตัวเล็กตัวน้อยและคนรุ่นใหม่ที่เชื่อเหมือนกับเราจึงได้ก่อการ รวมตัวกันก่อตั้ง “มหาลัยไทบ้าน ปี 1” ขึ้นในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์

ก่อการครู
Teacher Revolution

ภัสรัญ สระทองนวล: “วิชาใจ สำคัญไม่น้อยกว่าวิชาการ”

วิชาใจเปลี่ยนคุณครูหมดไฟให้กลายเป็นครูผู้เปลี่ยนแปลงการศึกษาในห้องเรียน นอกจากการเรียนรู้ตามหลักสูตรกลุ่มสาระวิชาต่างๆ ที่เรียนไปเพื่อตอบโจทย์กับการใช้ชีวิตจริงในสังคมแล้ว “วิชาใจก็สำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน” ครูคือมนุษย์ นักเรียนก็คือมนุษย์ ฉะนั้นเราจึงควรใส่ใจการดูแลสุขภาพจิต ร่วมสร้างพื้นที่ปลอดภัยในห้องเรียน และเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน

เปิดรับสมัครโครงการก่อการครู “ครูบันดาลใจ จุดไฟการเรียนรู้” รุ่นที่ 4

โครงการก่อการครูเปิดรับสมัครเพื่อนร่วมขบวนการในรุ่นที่ 4 เตรียมพบกับเครือข่ายทีมปฏิบัติการด้านการศึกษา ที่จะพาให้คุณได้ค้นพบหนทางในการสร้าง “ห้องเรียนที่มีความสุขและมีความหมาย” ต่อทั้งผู้เรียนและผู้สอน กับการอบรมที่จะพาให้ครูได้เข้าไปทำงานกับภายในตัวตน ได้เทคนิควิธีการสอนใหม่ ๆ  รวมถึงมองเห็นหนทางในการสร้างแรงกระเพื่อมให้วงการการศึกษาไทย เพื่อการเปลี่ยนแปลงห้องเรียนของเราอย่างแท้จริง

“ล่วงละเมิดทางเพศ” ภัยคุกคามเด็กที่อยากให้จบในรุ่นครู

“หากเรารู้ว่าความรุนแรงมีอยู่จริง แล้วยังเพิกเฉย เรานั่นแหละคือตัวปัญหา” ความรู้สึกของ ศิริพร ทุมสิงห์ หรือ ครูจุ๊บแจง หนึ่งในผู้ก่อตั้งเพจ ก่อการสิทธิเด็ก ในวันที่รู้สึกว่าครูก็เป็นผู้ผลิตซ้ำความรุนแรง ที่ทำให้เด็ก ๆ ถูกลิดรอนความปลอดภัย ในฐานะครู เธออยากแสดงออกให้คนในระบบการศึกษามองเห็นว่า ล่วงละเมิดทางเพศ เป็นสิ่งไม่ควรเกิดขึ้นและถูกเพิกเฉย

‘มหาลัยนัยหลืบ’ หลักสูตรของเด็กช่างฝัน

เรื่องราวนักเรียนคนหนึ่งผู้มีเหรียญทองการันตีว่าน่าจะเข้าสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำได้ไม่ยาก แต่เขากลับตัดสินใจไม่ไปต่อในระดับอุดมศึกษา แต่ปักหมุดหมายไปที่การเรียนรู้ด้วยตนเองบนหลักสูตรที่กระทรวง อว. ไม่ได้รับรอง ในสถาบันการศึกษาที่เขาเรียกว่า “มหาลัยนัยหลืบ”

ชุมชนสุขร่วมสร้าง
Collective Happiness

รถไฟสายความสุข : การขับเคลื่อนสังคมเพื่อความสุขร่วมบนวิถีวัฒนธรรม ไทยเบิ้ง โคกสลุง

การเดินทางของชุมชนไทยเบิ้ง โคกสลุงเป็นเหมือนรถไฟขบวนหนึ่งที่กำลังเคลื่อนไปข้างหน้าและเกิดเรื่องราวระหว่างทางขึ้นมากมาย โดยมีปลายทางคือความสุขร่วมของคนในชุมชน

หลากสี ต่างเลนส์ : ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎีนำร่วมเคลื่อนสังคม

หลากสีต่างเลนส์ : ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎีนำร่วมเคลื่อนสังคม หนังสือเล่มนี้มุ่งคลี่ขยายขอบเขตความเข้าใจเกี่ยวกับการนำกระบวนทัศน์ใหม่ในฐานะเป็นกรอบคิดและเครื่องมือพัฒนาศักยภาพผู้นำสู่การขับเคลื่อนชุมชนหรือสังคม เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจการทำงานขับเคลื่อนสังคมได้เรียนรู้และเกิดประกายความคิดต่อยอดสู่การนำไปเป็นแนวทางการทำงานเชิงปฏิบัติได้

‘สุ้ย’ วรรณา จารุสมบูรณ์: ขอนแก่นนิวสปิริต ลมใต้ปีกของการพัฒนาเมือง

คุยกับสุ้ย วรรณาจารุสมบูรณ์​ ผู้ก่อตั้งกลุ่มขอนแก่นนิวสปิริต และการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงสังคม เพื่อพัฒนาเมืองขอนแก่นในหลายมิติ

เศรษฐกิจความสุขไปด้วยกัน “คนพังงาทำได้ยังไง”

ความเข้มแข็งของคนพังงางอกงามขึ้นได้อย่างไร ถอดบทเรียนได้จากเวทีเสวนาเส้นทางสู่สถาบันการเรียนรู้พังงาแห่งความสุข ณ สำนักงานสมาคมประชาสังคมพังงาแห่งความสุข ตำบลตากแดด อำเภอเมือง จังหวัดพังงา เมื่อวันที่ 29 กันยายน ที่ผ่านมา

กิจกรรม
Activity

ภัสรัญ สระทองนวล: “วิชาใจ สำคัญไม่น้อยกว่าวิชาการ”

วิชาใจเปลี่ยนคุณครูหมดไฟให้กลายเป็นครูผู้เปลี่ยนแปลงการศึกษาในห้องเรียน นอกจากการเรียนรู้ตามหลักสูตรกลุ่มสาระวิชาต่างๆ ที่เรียนไปเพื่อตอบโจทย์กับการใช้ชีวิตจริงในสังคมแล้ว “วิชาใจก็สำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน” ครูคือมนุษย์ นักเรียนก็คือมนุษย์ ฉะนั้นเราจึงควรใส่ใจการดูแลสุขภาพจิต ร่วมสร้างพื้นที่ปลอดภัยในห้องเรียน และเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน

กริยาสามช่องของการศึกษา: อดีตที่เคยชิน ปัจจุบันอันเจ็บปวด และอนาคตที่ใฝ่ฝัน

การศึกษาแบบรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง ทำให้ครู นักเรียน โรงเรียน และชุมชน ไม่สามารถพัฒนาอะไรได้ตามที่ควร ครูที่มีหัวจิตหัวใจในการออกแบบการเรียนรู้ ไม่ช้าไม่นานก็อาจหมดไฟอย่างโดดเดี่ยว ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์เองก็ต้องสู้รบปรบมือกับกลไกของรัฐราชการที่ไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในตัวผู้อื่น ไหนเลยจะชุมชนที่ถูกผลักให้ห่างไกลจากลูกหลาน ทำได้เพียงรอคอยพวกเขาที่หน้าบ้าน แล้วหวังว่าจะ ‘ได้ดี’ กลับมา บทบาทของครูในอนาคต จึงไม่ควรหยุดนิ่งเพียงการบรรยายหน้าชั้นเรียน ให้การบ้าน และออกข้อสอบ เพราะคุณครูและนักเรียนคือผู้ที่ต้องเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับหลักสูตรการศึกษาและสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริงของชุมชน 

เปิดรับสมัครโครงการก่อการครู “ครูบันดาลใจ จุดไฟการเรียนรู้” รุ่นที่ 4

โครงการก่อการครูเปิดรับสมัครเพื่อนร่วมขบวนการในรุ่นที่ 4 เตรียมพบกับเครือข่ายทีมปฏิบัติการด้านการศึกษา ที่จะพาให้คุณได้ค้นพบหนทางในการสร้าง “ห้องเรียนที่มีความสุขและมีความหมาย” ต่อทั้งผู้เรียนและผู้สอน กับการอบรมที่จะพาให้ครูได้เข้าไปทำงานกับภายในตัวตน ได้เทคนิควิธีการสอนใหม่ ๆ  รวมถึงมองเห็นหนทางในการสร้างแรงกระเพื่อมให้วงการการศึกษาไทย เพื่อการเปลี่ยนแปลงห้องเรียนของเราอย่างแท้จริง

คลังความรู้
Knowledge Base

กริยาสามช่องของการศึกษา: อดีตที่เคยชิน ปัจจุบันอันเจ็บปวด และอนาคตที่ใฝ่ฝัน

การศึกษาแบบรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง ทำให้ครู นักเรียน โรงเรียน และชุมชน ไม่สามารถพัฒนาอะไรได้ตามที่ควร ครูที่มีหัวจิตหัวใจในการออกแบบการเรียนรู้ ไม่ช้าไม่นานก็อาจหมดไฟอย่างโดดเดี่ยว ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์เองก็ต้องสู้รบปรบมือกับกลไกของรัฐราชการที่ไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในตัวผู้อื่น ไหนเลยจะชุมชนที่ถูกผลักให้ห่างไกลจากลูกหลาน ทำได้เพียงรอคอยพวกเขาที่หน้าบ้าน แล้วหวังว่าจะ ‘ได้ดี’ กลับมา บทบาทของครูในอนาคต จึงไม่ควรหยุดนิ่งเพียงการบรรยายหน้าชั้นเรียน ให้การบ้าน และออกข้อสอบ เพราะคุณครูและนักเรียนคือผู้ที่ต้องเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับหลักสูตรการศึกษาและสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริงของชุมชน 

ครูเตรียมพร้อมอย่างไร..เมื่อการศึกษาไทยก้าวสู่ฐานสมรรถนะ

“การเรียนรู้ของผู้เรียน” หัวใจสำคัญของการศึกษา แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาได้กำหนดให้การศึกษาฐานสมรรถนะนั้นเป็นแนวทางในการปฏิรูปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน เพื่อมุ่งให้เกิดการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะหลักที่จำเป็นสำหรับการทำงาน การแก้ปัญหา และการดำรงชีวิต โดยการปฏิรูปการเรียนรู้ของผู้เรียนในครั้งนี้ ครูผู้สอน หลักสูตร การเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์และสนับสนุน เอื้อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและเกิดสมรรถนะตามเป้าหมายที่กำหนดได้ โดยการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการเตรียมความพร้อมให้กับบุคลากรของสถานศึกษา

ประเมินอย่างไรให้ได้สมรรถนะกับเครื่องมือ Rubrics

ก่อการครูพามาทำความรู้จักกับ “การประเมินฐานสมรรถนะกับเครื่องมือ Rubrics” รูปแบบการประเมินที่เป็นการประเมินจากประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีความหมาย เป็นเชิงบวก และหนุนเสริมสำหรับนักเรียนที่เกิดขึ้นและให้ผลในจังหวะเวลาที่เหมาะสม มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงและเอาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เริ่มตั้งเเต่การตั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของนักเรียนบนพื้นฐานของสมรรถนะ ที่ต้องมองเห็นทั้งเป้าหมาย เนื้อหา เเละการกระทำที่จะเกิดขึ้น

ผู้สนับสนุนโครงการ
Supported by