รถไฟสายความสุข : การขับเคลื่อนสังคมเพื่อความสุขร่วมบนวิถีวัฒนธรรม ไทยเบิ้ง โคกสลุง
การเดินทางของชุมชนไทยเบิ้ง โคกสลุงเป็นเหมือนรถไฟขบวนหนึ่งที่กำลังเคลื่อนไปข้างหน้าและเกิดเรื่องราวระหว่างทางขึ้นมากมาย โดยมีปลายทางคือความสุขร่วมของคนในชุมชน
การเดินทางของชุมชนไทยเบิ้ง โคกสลุงเป็นเหมือนรถไฟขบวนหนึ่งที่กำลังเคลื่อนไปข้างหน้าและเกิดเรื่องราวระหว่างทางขึ้นมากมาย โดยมีปลายทางคือความสุขร่วมของคนในชุมชน
หลังจากการรวมตัวกันของครูแกนนำก่อการครูใน เวทีพัฒนาศักยภาพการเป็นกระบวนกรหรือเวทีก่อการคูณ โมดูล 1 เพื่อมองหาเครือข่าย เริ่มขับเคลื่อนการศึกษาในพื้นที่ของตน ก่อร่างเป็นเครือข่ายกว่า 10 เครือข่ายทั่วประเทศในปลายปีที่ผ่านมา และได้กลับมาเจอกันอีกครั้งใน เวทีก่อการคูณ โมดูลที่ 2 ว่าด้วยองค์กรการเรียนรู้และการสร้างเครือข่าย จัดขึ้นในวันที่ 6-8 มีนาคม 2564 ณ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นำกระบวนการโดย คุณพฤหัส พหลกุลบุตร, และคุณธนัญธร เปรมใจชื่น
หลากสีต่างเลนส์ : ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎีนำร่วมเคลื่อนสังคม หนังสือเล่มนี้มุ่งคลี่ขยายขอบเขตความเข้าใจเกี่ยวกับการนำกระบวนทัศน์ใหม่ในฐานะเป็นกรอบคิดและเครื่องมือพัฒนาศักยภาพผู้นำสู่การขับเคลื่อนชุมชนหรือสังคม เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจการทำงานขับเคลื่อนสังคมได้เรียนรู้และเกิดประกายความคิดต่อยอดสู่การนำไปเป็นแนวทางการทำงานเชิงปฏิบัติได้
โครงการผู้นำแห่งอนาคต ชวนอ่านหนังสือ “คน เคลื่อน คน” หนังสือที่กำลังจะบอกว่า คนทุกคนสามารถเป็น “คน” ผู้เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีและมีความหมาย ด้วยพลังแห่งการนำร่วม
…จะดีไหม ? ถ้าปลายทางของการเรียนรู้ไม่จบลงแค่ในห้องสอบ แต่เป็นการเรียนรู้ที่นำไปใช้ในชีวิตได้จริง และเชื่อมโยงกับบริบทชีวิตของผู้เรียน… เมื่อผู้เรียนอยู่ในบริบทของสังคม ชุมชน และโรงเรียนที่มีการเข้าถึงทรัพยากรการเรียนรู้แตกต่างกัน การเรียนรู้อย่างไรจึงจะตอบรับและมีความหมายต่อความหลากหลายเหล่านี้ได้ ?
หลังจากการรวมตัวกันของครูแกนนำก่อการครูใน เวทีพัฒนาศักยภาพการเป็นกระบวนกรหรือเวทีก่อการคูณ โมดูล 1 เพื่อมองหาเครือข่าย เริ่มขับเคลื่อนการศึกษาในพื้นที่ของตน ก่อร่างเป็นเครือข่ายกว่า 10 เครือข่ายทั่วประเทศในปลายปีที่ผ่านมา และได้กลับมาเจอกันอีกครั้งใน เวทีก่อการคูณ โมดูลที่ 2 ว่าด้วยองค์กรการเรียนรู้และการสร้างเครือข่าย จัดขึ้นในวันที่ 6-8 มีนาคม 2564 ณ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นำกระบวนการโดย คุณพฤหัส พหลกุลบุตร, และคุณธนัญธร เปรมใจชื่น
“ประเมินเติมใจ จุดไฟการเรียนรู้” โดย อรรถพล ประภาสโนบล ผู้ก่อตั้งกลุ่ม ‘พลเรียน’ ได้ถ่ายทอดเรื่องราวของครูทั้ง 12 คน ใน โครงการก่อการครู ร่วมกับ Inskru ที่ทดลองนำเครื่องมือการประเมินรูปแบบใหม่ไปใช้ในห้องเรียนของตนเอง เพื่อให้ครูค้นพบแนวทางพัฒนาห้องเรียน และรับรู้คุณค่าการสอนของตนผ่านเสียงและความรู้สึกจริงของนักเรียน ตลอดจนมองเห็นความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ของการประเมินที่มุ่งเน้นการพัฒนาครูและการเรียนการสอนมากกว่าการตรวจสอบ หรือ จับผิดบนฐานที่ไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน
“ก่อก่อนกาล ก่อการครู” หนังสือที่กำลังบอกเล่า เรื่องราว ถ้อยคำ ความรู้ ที่ถอดถ่ายจากประสบการณ์และแง่มุมของผู้ก่อการ 11 คน ก่อนจะเดินทางมาพบเจอกัน เพื่อร่วมก่อร่างขบวนการขับเคลื่อนเปลี่ยนแปลงการศึกษา ในชื่อของ ก่อการครู เกิดกลายเป็นเรื่องราว บรรจุและร้อยเรียงตั้งแต่จุดเริ่มต้นการเดินทางสู่วงการการศึกษา รวมไปถึงระหว่างทางและปลายทางที่วาดหวัง ลงในหนังสือ ก่อก่อนกาล ก่อการครู เล่มนี้
การเดินทางของชุมชนไทยเบิ้ง โคกสลุงเป็นเหมือนรถไฟขบวนหนึ่งที่กำลังเคลื่อนไปข้างหน้าและเกิดเรื่องราวระหว่างทางขึ้นมากมาย โดยมีปลายทางคือความสุขร่วมของคนในชุมชน
หลากสีต่างเลนส์ : ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎีนำร่วมเคลื่อนสังคม หนังสือเล่มนี้มุ่งคลี่ขยายขอบเขตความเข้าใจเกี่ยวกับการนำกระบวนทัศน์ใหม่ในฐานะเป็นกรอบคิดและเครื่องมือพัฒนาศักยภาพผู้นำสู่การขับเคลื่อนชุมชนหรือสังคม เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจการทำงานขับเคลื่อนสังคมได้เรียนรู้และเกิดประกายความคิดต่อยอดสู่การนำไปเป็นแนวทางการทำงานเชิงปฏิบัติได้
คุยกับสุ้ย วรรณาจารุสมบูรณ์ ผู้ก่อตั้งกลุ่มขอนแก่นนิวสปิริต และการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงสังคม เพื่อพัฒนาเมืองขอนแก่นในหลายมิติ
ความเข้มแข็งของคนพังงางอกงามขึ้นได้อย่างไร ถอดบทเรียนได้จากเวทีเสวนาเส้นทางสู่สถาบันการเรียนรู้พังงาแห่งความสุข ณ สำนักงานสมาคมประชาสังคมพังงาแห่งความสุข ตำบลตากแดด อำเภอเมือง จังหวัดพังงา เมื่อวันที่ 29 กันยายน ที่ผ่านมา