เมล็ดข้าวเปลือกไทยเบิ้ง “บ้านเราเท่ที่สุด”
เรื่องราวของกลุ่มเยาวชนเมล็กข้าวเปลือกไทยเบิ้ง บ้านโคกสุลง จังหวัดลพบุรี กับการเรียนรู้ในห้องเรียนชุมชน ผ่านปราชญ์และภูมิปัญญาของกลุ่มวัฒนธรรมไทยเบิ้ง และการปรับประยุกต์ภูมิปัญญาเป็นการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เรื่องราวของกลุ่มเยาวชนเมล็กข้าวเปลือกไทยเบิ้ง บ้านโคกสุลง จังหวัดลพบุรี กับการเรียนรู้ในห้องเรียนชุมชน ผ่านปราชญ์และภูมิปัญญาของกลุ่มวัฒนธรรมไทยเบิ้ง และการปรับประยุกต์ภูมิปัญญาเป็นการเรียนรู้ที่หลากหลาย
20 ปีกับการทำงานด้านวัฒนธรรมของชุมชนวัฒนธรรมไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ของกลุ่มสถาบันไทยเบิ้งเพื่อการพัฒนา รายทางการทำงานนั้นรุ่มรวยไปด้วยเรื่องราว ทั้งการเผชิญหน้ากับปัญหา ตามหาความรู้ และการลงมือปฏิบัติที่พบอุปสรรคในทุกย่างก้าว
โคกสลุง เผชิญวิกฤตหลายครั้ง ทั้งจากการวางผังเมืองที่กำหนดให้โคกสลุงเป็นเขตอุตสาหกรรม การสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่สร้างความกังวลสู่คนในชุมชนชาวไทยเบิ้ง ด้วยเกรงว่าวัฒนธธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อาจสูญหาย หรือกระทั่งถูกลืม อันเนื่องมาจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ่อาจเปลี่ยนโฉมหน้าของชุมชนไปตลอดกาล
ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้ง โคกสลุง กับการต่อสู่ เรียนรู้ สร้างเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนชุมชนโคกสลุงให้เติบโตและแข็งเเรงบนต้นทุนทางวัฒนธรรม โดยมีปลายทางคือ ‘ความสุขร่วมกันของชุมชน’
หนังสือคนเคลื่อนคน เริ่มต้นจากบทความวิจั ย 5 ชิ้น ศึกษาชุมชน 4 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่บนคำถาม 2 ข้อ หนึ่ง-วิธีการสร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในชุมชน สอง-เมื่อเกิดการเรียนรู้ในชุมชนแล้ว ชุมชนนำความรู้นั้นเปลี่ยนแปลงสังคมอย่างไร
ชุมชนไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ประกาศ lockdown ชุมชนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 งดการสัญจรทางไกล งดการทำกิจกรรมรวมกลุ่ม งดการพบปะเจอหน้าพูดคุยกันอย่างเคย และลดการเสพข่าวสารบนโลกออนไลน์ที่จะสร้างความตื่นตระหนกและสับสน ในบรรยากาศที่ทุกคนต่างหวาดกลัวภัยไวรัส
ราวๆ 1 เดือนแล้วที่ชุมชนไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ประกาศ lockdown ชุมชนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 เป็นการแยกกันอยู่ แต่อีกด้านก็มีการรวมกันทำประโยชน์ ผ่านบทบาทที่ตนเองมีความพร้อม และเป็นการปิดเมือง ฉบับโคกสลุงโมเดล ปิดเมือง – โดยที่ประตูความสุขยังเปิดอยู่
พ่อมืด – ประทีป อ่อนสลุง หนึ่งในหัวเรี่ยวหัวเรื่องของการทำงานชุมชนได้เล่าให้เราฟังว่า กว่าจะเดินทางมาถึงวันนี้ ความรู้ที่เขาเสาะแสวงหาเพื่อสร้างวิธีคิด เกิดวิธีมองปัญหา นำมาสู่วิธีการทำงาน หนึ่งในเครื่องมือนั้นเรียกว่า Systems Thinking
ท่ามกลางกระแสธารของการเปลี่ยนแปลงปัญหาที่ถาโถมอยู่ในสังคม ในประเทศ และในโลกสมัยใหม่ ไม่ว่าจะเรื่องการศึกษาไทย ความขัดแย้งทางการเมือง ความเหลื่อมล้ำ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ต่างๆ นานา อีกฝากฝั่งหนึ่งของสายธารนั้น ได้ก่อเกิดคนทำงานตัวเล็กๆ ที่กำลังลงมือกระทำการบางอย่างเพื่อคานงัดกับปัญหา หรือก่อร่างแง่งามที่มีอยู่ให้เป็นที่ประจักษ์แก่สังคม