“เราไม่ได้ตายเพราะสึนามิ ความไม่รู้ต่างหากที่ฆ่าเรา”

คุยกับ ประยูร จงไกรจักร์ จากผู้ประสบภัยสึนามิ สู่การทำงานเพื่อสังคม จุดเริ่มต้นคือเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ สู่การทำงานพัฒนาชุมชน และจังหวัดเพื่อสร้างจังหวัดพังงาให้เป็นเมืองแห่งความสุข บนแนวคิดของการจัดการตนเองในระดับฐานราก

มอแกลนทับตะวัน ความ ‘เคว้ง’​ ที่แท้ทรู เรื่องสุขและเศร้าหลังเช้าสึนามิ

ก่อนเหตุการณ์สึนามิเมื่อปี 2547 เราแทบไม่รู้จักชาวมอแกลนเลยแม้แต่น้อย เรื่องราวของพวกเขาปรากฏขึ้นหลังเหตุการณ์สึนามิ ชาวมอแกลนส่วนมากรอดชีวิต เพราะทักษะในการสังเกตธรรมชาติ และการเคารพในเรื่องเล่าของบรรพบุรุษ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าพวกเขารอดจากคลื่นยักษ์ แต่หลังจากเช้าวันนั้นเขาก็ต้องเจอคลื่นอีกแบบที่เข้ามาสร้างปัญหาให้พวกเขาต้องขบคิดและต่อสู้

จากสึนามิ สู่ผู้นำร่วม: ขับเคลื่อนการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ

“เราไม่ได้ตายด้วยสึนามิ แต่เราตายเพราะชุมชนไม่มีความพร้อม ชุมชนเราไม่มีความเอื้อเฟื้อ และตายเพราะเราไม่ได้เรียนรู้” เรื่องเล่าจากหนังสือ  พังงาแห่งความสุข สุขที่คุณสัมผัสได้

พังงาแห่งความสุข…สุขที่คุณสัมผัสได้

พังงาแห่งความสุข…สุขที่คุณสัมผัสได้ : เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นจากการถอดบทเรียนการทำงานชุมชนร่วมกันของคนในจังหวัดพังงามากว่า 20 ปี หนังสือเล่มนี้จะทำให้เห็นถึงการล้มลุกคลุกคลาน จุดแข็ง จุดอ่อน หรือแนวทางการทำงานของชุมชน เพื่อให้ผู้อ่านไม่ทำพลาดซ้ำ พังงาแห่งความสุข ไม่ใช่ตัวอย่างความสำเร็จ แต่คือตัวอย่างการเริ่มต้นนับหนึ่ง เป็นอีกกรณีศึกษาหนึ่งให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทบทวน ทั้งส่วนชุมชน ประชาสังคม หน่วยงานสนับสนุนต่าง ๆ รวมถึงผู้ที่ทำงานเพื่อสังคมในบริบทอื่น ๆ เพื่อนำข้อคิดไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของตนเองต่อไป