ฉันคือหมาป่าหรือยีราฟ : ทำไมเจตนาดีจึงสวนทางกับคำพูดร้ายๆ

ผู้นำแห่งอนาคต ชวนทำความรู้จักเครื่องมือการสื่อสารหนึ่งที่มีชื่อว่า ‘การสื่อสารอย่างสันติ (Nonviolent Communication: NVC)’ คิดค้นขึ้นโดย ดร.มาร์แชล โรเซนเบิร์ก (Dr.Marshall B. Rosenberg) ผู้ที่ศึกษาและตามหารากเหง้าของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคม จนกระทั่งได้ค้นพบเครื่องมือที่เรียกว่า การสื่อสารอย่างสันติ หรือการสื่อสารที่ไม่ใช้ความรุนแรง

เข้าใจกันผ่านส่วนลึกของคำพูด ‘ทำไมคุยกันเท่าไหร่ ก็ไม่เข้าใจกันเสียที’

ข้อเขียนชิ้นนี้ คือการพาไปสำรวจสิ่งที่เรียกว่า ความรู้สึก ความคิด และความต้องการเบื้องลึก สามสิ่งที่ดูคล้ายแต่ความหมายนั้นแตกต่าง ซึ่งการทำความเข้าใจความหมายของสามสิ่งข้างต้นนั้น คือจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้และค้นหาเครื่องมือในการสื่อสารเพื่อรักษาความสัมพันธ์ โดยเฉพาะในวันที่เราต่างพร้อมจะขัดแย้งและทำลายกันได้ทุกเมื่อ

Deep Listening: “ฉันเกลียดพ่อ” ผ่านการฟัง 4 ระดับ

ทักษะการฟังอย่างลึกซึ้ง จะทำให้เราสามารถช่วยเหลือคนที่อยู่ตรงหน้าที่กำลังจมอยู่กับความทุกข์ของปัญหา เป็นการช่วยเหลือที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์อะไร เพียงใช้ทักษะที่ต้องหมั่นฝึกฝน

สื่อสารอย่างสันติ ไม่ใช่โลกสวย ให้สังคมอยู่รอดจากความโกรธและโรคระบาด

จากเหตุการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (COVID-19) เราได้ชวน ณัฐฬส วังวิญญู มาแชร์แนวคิดเรื่องงการสื่อสารอย่างสันติ สู่ทางออกจากบรรรยากาศที่เราต่างวิตก หวาดหลัว และโกรธเกรี้ยว

แตกต่างแต่ไม่แตกแยก: บ่มเพาะกล้ามเนื้อประชาธิปไตยในตัวคุณ

แตกต่างแต่ไม่แตกแยก: บ่มเพาะกล้ามเนื้อประชาธิปไตยในตัวคุณ บทสัมภาษณ์คุณณัฐฬส วังวิญญู กระบวนกรสถาบันขวัญแผ่นดิน

นำด้วยญาณทัศนะ: บันทึกการอบรมเชิงปฏิบัติการภาวะการนำเพื่อการข้ามพ้น โมดูลที่ 2

เวิร์คช็อป “นำด้วยญาณทัศนะ”เป็นการอบรมเรื่องการใช้ญาณทัศนะในการทำงานกับผู้คนที่คุณวิแกรม บัตต์ และคณะทำงานจากองค์กร Leadership That Works ประเทศอินเดีย เป็นผู้ออกแบบกระบวนการและนำมาจัดในเมืองไทยเป็นแห่งแรก โดยมี ณัฐฬสวังวิญญู และ ไพลิน จิรชัยสกุล สองกระบวนกรที่ผ่านการเรียนรู้กับคุณวิแกรมที่อินเดีย และเป็นผู้จุดประกายให้คนไทยอีกหลายๆ คนตามไปเรียนด้วย เป็นล่าม

ภาวะการนำเพื่อการขับเคลื่อนสังคม รุ่นที่ 3 ครั้งที่ 2

เวทีการเรียนรู้ภาวะการนำเพื่อการขับเคลื่อนสังคม หรือ Social Facilitation รุ่นที่ 3 ครั้งที่ 2 มีคุณณัฐฬส วังวิญญู เน้นเรื่องการรู้จักตัวเองอย่างลงลึกเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตนเอง โดยอาศัยกระบวนการภาวนา3 มิติ คือ รู้ตัว รู้ตัวตน และรู้ธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการเจริญสติด้วยการนั่ง ยืน เดิน สัมผัสธรรมชาติ ผ่านศิลปะการต่อสู้ วอยซ์ไดอะล็อก และนิเวศภาวนา เป็นต้น

ภาวะการนำเพื่อการขับเคลื่อนสังคม รุ่นที่ 3 ครั้งที่ 1

Social Facilitation รุ่นที่ 3 เน้นกลุ่มคนที่มีความมุ่งมั่นชัดเจนที่จะขับเคลื่อนสังคมในมุมใดมุมหนึ่งตามความสนใจและถนัดของตัวเองเป็นคนรุ่นกลางที่มีศักยภาพสูงและมีความพร้อมที่จะมาเรียนรู้ร่วมกันโดยจะเป็นเรียนสองครั้งต่อเนื่อง ครั้งละ 4 วัน เวทีแรกมีคุณประชา หุตานุวัตร เป็นกระบวนกรหลัก เน้นเรื่องการเติมเครื่องมือ มุมมอง ความเข้าใจ และลงลึกด้านใน เพื่อเชื่อมสู่เวทีที่สอง ซึ่งคุณณัฐฬส วังวิญํู จะมารับไม้เป็นกระบวนกรต่อไป

ภาวะการนำเพื่อการขับเคลื่อนสังคม รุ่นที่ 2 ครั้งที่ 2

Social Facilitation รุ่นที่ 2 ครั้งที่ 2 มีคุณณัฐฬสวังวิญญู และทีมรับไม้เป็นกระบวนกรต่อจากคุณประชาหุตานุวัตร เป็นเรื่องการรู้จักตัวเองอย่างลงลึกเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตนเอง โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้ โดยเฉพาะการภาวนา3 มิติ คือ รู้ตัว รู้ตัวตน และรู้ธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการเจริญสติด้วยการนั่ง ยืน เดิน สัมผัสธรรมชาติ ผ่านศิลปะการต่อสู้ วอยซ์ไดอะล็อก กระบวนการโปรเซสเวิร์กและนิเวศภาวนา เป็นต้น

1 2