เราอยู่ในสังคมเหลื่อมล้ำที่เรียกร้องพลังของ ‘การนำร่วม’ มากกว่าฮีโร่

ผู้คนจำนวนไม่น้อยเชื่อว่า ปัญหาเหล่านี้แก้ได้ สังคมดีกว่านี้ได้ และเราต่างเป็นส่วนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงนั้น และผู้คนจำนวนไม่น้อยอีกเช่นกันที่ต่างลงมือกระทำการบางอย่างเพื่อคานงัดปัญหา ในพื้นที่ ในชุมชน ตามความถนัดและความสนใจของตน เขาเหล่านี้คือผู้ที่กล้าฝันและลงมือทำ

มายาคติว่าด้วยความสำเร็จ: การสอบเข้ามหาวิทยาลัยอาจไม่ใช่ทั้งหมดของชีวิต

‘มายาคติว่าด้วยความสำเร็จของผู้เรียน: กรณีศึกษาเรื่องการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในประเทศไทย’ โดย ดร.ฝน นิลเขต และ ดร.ปวีณา แช่มช้อย แห่งคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยการสำรวจและรื้อถอนมายาคติทางการศึกษาในสังคมไทย

ไม่ควรมีใครยอมศิโรราบเพื่อให้ได้มาซึ่งความเสมอภาคทางการศึกษา

ข้อค้นพบเบื้องต้นของงานวิจัยเรื่อง ‘มายาคติความเสมอภาคทางการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทย: การขยายโอกาสและสุขภาวะทางสังคม’ โดย ดร.กิตติ คงตุก และ ดร.ไอยเรศ บุญฤทธิ์ ซึ่งอยู่ในชุดโครงการวิจัยการสำรวจและรื้อถอนมายาคติทางการศึกษาในสังคมไทย คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อุปสรรค ความงาม และการเดินทางของ ‘รถพุ่มพวงชวนเรียนรู้’

ถอดบทเรียนการเดินทางของ รถพุ่มพวงชวนเรียนรู้ จาก 5 โรงเรียนด้วยกันคือ โรงเรียนเทศบาลบ้านโนนชัย จังหวัดขอนแก่น โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จังหวัดขอนแก่น โรงเรียนนาขนวน  จังหวัดศรีสะเกษ ศูนย์การเรียนไร่ส้มวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนหัวหินวัฒนาลัย จังหวัดกาฬสินธ์ุ

ผู้นำการศึกษาด้วยแนวทาง Phenomenon-based Learning

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพผู้นำการศึกษาด้วยแนวทาง Phenomenon-based Learning โดยวิทยากรกระบวนการหลัก Educluster Finland ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบการศึกษาจากประเทศฟินแลนด์ ระหว่างวันที่ 14-16 พฤษภาคม พ.ศ.2560 ณ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต