โรงเรียนไม่ได้มีหน้าที่แค่สอน แต่คือความสัมพันธ์กับชุมชน และรับประกันการอิ่มท้องของเด็ก

คุยกับ “ครูสัญญา ครูปุย ครูโต้ง ครูผึ้ง” แห่งโรงเรียนเทศบาลบ้านโนนชัย จังหวัดขอนแก่น ที่พร้อมใจกันกระโดดขึ้น ‘รถพุ่มพวงชวนเรียนรู้’ โปรเจกต์เฉพาะกิจในช่วงปิดเทอมอันยาวนาน เพื่อสร้างกิจกรรมให้เด็กๆ ในชุมชน

ง่าย ๆ แค่ใช้ Zoom

แนะนำการใช้โปรแกรม Zoom โดย ครูต้าร์ อธิวัฒน์ ใครวิชัย ครูแกนนำบัวหลวงก่อการครู เพื่อรับมือกับการเรียนการสอนในยุคการระบาด COVID-19

อีกปีเดียวเกษียณ แต่ยังไม่หยุดเรียนรู้

‘ห้องเรียนก่อการครู ทำให้ไม่หยุดนิ่งกับการสอน เด็กเรียนอย่างมีความสุข มีวิชากินมากกว่าวิชาการ’ คุยเรื่อง PBL (Project-based Learning) กับ ‘ครูวิลลี่’ อนุสรณ์ นิลโฉม ครูวัยเกษียณที่ยังมีความรุ่นใหม่แห่งโรงเรียนชุมชนบ้านผานกเค้า สำหรับครูวิลลี่ PBL เกิดขึ้นที่ไหนก็ได้ เด็กเรียนรู้ได้จากทุกที่ เริ่มต้นได้ง่ายแค่ใบไม้ใบเดียว

เราต้องมีอีแร้งแห่งการศึกษา ไม่มีไอเดียใดเสียเปล่าในนิเวศแห่งการเรียนรู้

นี่คือบทบันทึกจากวงสนทนาก่อการครูเดอะซีรี่ย์ ที่มองว่านิเวศการเรียนรู้สามารถสร้างได้ ผ่านการทำความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ 4 ข้อ คือหนึ่ง ความแตกต่างหลากหลาย สอง เกื้อกูลซึ่งกันและกัน สาม กลไกสะท้อนกลับ สี่ ในธรรมชาติไม่มีของเสีย

รถพุ่มพวงการศึกษา คุณครูไปหาถึงบ้าน ความรู้ก็เหมือนอาหาร ‘เลือกได้ จับต้องได้ ตอบโจทย์เด็ก’

ในวันที่ ‘เด็ก’ และ ‘โรงเรียน’ ห่างออกจากกัน การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร? คุยกับเหล่าคณะครูผู้ไม่ยอมแพ้ พยายามสร้างการเรียนรู้ให้ลูกศิษย์ของตัวเองท่ามกลางสถานการณ์โรคระบาด จนเกิดเป็นโปรเจ็กต์ ‘รถพุ่มพวงการศึกษา’ ที่คุณครูไปหาถึงบ้าน เด็กอยากเรียนอะไรเลือกได้เอง

สะดวกแบบไหนก็เรียนแบบนั้น เพราะการสอนออนไลน์ไม่ได้เหมาะกับทุกคน

บทสนทนากับ ‘ครูแอม – นิธิ จันทรธนู’ ครั้งนี้ เป็นการชวนคุยถึงการอพยพครู และพาเด็กไปสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ บ้านกลายเป็นห้องเรียน สบตากันผ่านกล้อง และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนเกิดขึ้นโดยมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตเป็นตัวแปร

กนกพร พิมพา: เมื่อครูเอาชนะเด็กหนึ่งครั้ง ประตูแห่งความสัมพันธ์ก็ปิดลงทันที

คุยกับ ครูมุก-กนกพร พิมพา แห่งโรงเรียนวัดอัมพวัน จังหวัดลพบุรี จากเด็กหญิงที่เกลียดทั้งครูและโรงเรียน สู่การเป็นครูที่ตั้งมั่นว่า ‘ฉันจะไม่สร้างบาดแผลให้เด็กด้วยการเอาชนะ’

‘ครูตุ๋ม’ วิภาวี พลตื้อ ครูเคมีผู้อยากสร้างเคมีที่เข้ากันกับเด็กๆ

คุยกับ ‘ครูตุ๋ม’ วิภาวี พลตื้อ หัวเรือใหญ่ในการผลักดันให้โรงเรียนแห่งนี้กลายเป็นโรงเรียนสิ่งแวดล้อม (Echo School) แห่งโรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

“หนูไม่เข้าใจ ครูสอนอะไร” Teach from Home อย่างไร ครูกับเด็กยังใกล้ เข้าใจและไม่ง่วง

คุยกับ อ.จ๊อย-ปวีณา แช่มช้อย หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งก่อการครู กับการเรียนออนไลน์ในยุค COVID-19 ครูจะสอนอย่างไร เด็กจะเรียนอย่างไร โดยที่ยังคงรักษาสภาพ ‘ความสัมพันธ์ของมนุษย์’ ได้มากที่สุด

1 4 5 6 7 8 10