รถไฟสายความสุข : การขับเคลื่อนสังคมเพื่อความสุขร่วมบนวิถีวัฒนธรรม ไทยเบิ้ง โคกสลุง
การเดินทางของชุมชนไทยเบิ้ง โคกสลุงเป็นเหมือนรถไฟขบวนหนึ่งที่กำลังเคลื่อนไปข้างหน้าและเกิดเรื่องราวระหว่างทางขึ้นมากมาย โดยมีปลายทางคือความสุขร่วมของคนในชุมชน
การเดินทางของชุมชนไทยเบิ้ง โคกสลุงเป็นเหมือนรถไฟขบวนหนึ่งที่กำลังเคลื่อนไปข้างหน้าและเกิดเรื่องราวระหว่างทางขึ้นมากมาย โดยมีปลายทางคือความสุขร่วมของคนในชุมชน
หลากสีต่างเลนส์ : ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎีนำร่วมเคลื่อนสังคม หนังสือเล่มนี้มุ่งคลี่ขยายขอบเขตความเข้าใจเกี่ยวกับการนำกระบวนทัศน์ใหม่ในฐานะเป็นกรอบคิดและเครื่องมือพัฒนาศักยภาพผู้นำสู่การขับเคลื่อนชุมชนหรือสังคม เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจการทำงานขับเคลื่อนสังคมได้เรียนรู้และเกิดประกายความคิดต่อยอดสู่การนำไปเป็นแนวทางการทำงานเชิงปฏิบัติได้
คุยกับสุ้ย วรรณาจารุสมบูรณ์ ผู้ก่อตั้งกลุ่มขอนแก่นนิวสปิริต และการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงสังคม เพื่อพัฒนาเมืองขอนแก่นในหลายมิติ
ความเข้มแข็งของคนพังงางอกงามขึ้นได้อย่างไร ถอดบทเรียนได้จากเวทีเสวนาเส้นทางสู่สถาบันการเรียนรู้พังงาแห่งความสุข ณ สำนักงานสมาคมประชาสังคมพังงาแห่งความสุข ตำบลตากแดด อำเภอเมือง จังหวัดพังงา เมื่อวันที่ 29 กันยายน ที่ผ่านมา
20 ปีกับการทำงานด้านวัฒนธรรมของชุมชนวัฒนธรรมไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ของกลุ่มสถาบันไทยเบิ้งเพื่อการพัฒนา รายทางการทำงานนั้นรุ่มรวยไปด้วยเรื่องราว ทั้งการเผชิญหน้ากับปัญหา ตามหาความรู้ และการลงมือปฏิบัติที่พบอุปสรรคในทุกย่างก้าว
คุยกับ ‘กลุ่มรักษ์เขาชะเมา’ ณ ตำบลทุ่งควายกิน จังหวัดระยอง กับกระบวนการเรียนรู้ของเด็กๆ และเยาวชน ในหลากหลายมิติของประเด็นสังคม ตลอดระยะเวลา 26 ปีที่ผ่านมา
คุยกับ น้ำนิ่ง-อภิศักดิ์ ทัศนี ผู้ประสานงานกลุ่มเยาวชน Beach for Life หลังการต่อสู้อันยาวนานต่อกรณีกำแพงกันคลื่น ณ หาดม่วงงาม สู่กระบวนการเรียนรู้และการต่อสู้ครั้งใหม่
คุยกับ ประยูร จงไกรจักร์ จากผู้ประสบภัยสึนามิ สู่การทำงานเพื่อสังคม จุดเริ่มต้นคือเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ สู่การทำงานพัฒนาชุมชน และจังหวัดเพื่อสร้างจังหวัดพังงาให้เป็นเมืองแห่งความสุข บนแนวคิดของการจัดการตนเองในระดับฐานราก
ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้ง โคกสลุง กับการต่อสู่ เรียนรู้ สร้างเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนชุมชนโคกสลุงให้เติบโตและแข็งเเรงบนต้นทุนทางวัฒนธรรม โดยมีปลายทางคือ ‘ความสุขร่วมกันของชุมชน’