ฉันคือหมาป่าหรือยีราฟ : ทำไมเจตนาดีจึงสวนทางกับคำพูดร้ายๆ

ผู้นำแห่งอนาคต ชวนทำความรู้จักเครื่องมือการสื่อสารหนึ่งที่มีชื่อว่า ‘การสื่อสารอย่างสันติ (Nonviolent Communication: NVC)’ คิดค้นขึ้นโดย ดร.มาร์แชล โรเซนเบิร์ก (Dr.Marshall B. Rosenberg) ผู้ที่ศึกษาและตามหารากเหง้าของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคม จนกระทั่งได้ค้นพบเครื่องมือที่เรียกว่า การสื่อสารอย่างสันติ หรือการสื่อสารที่ไม่ใช้ความรุนแรง

โรคทางใจ รักษาได้ด้วย Empathy

ข้อเขียนถัดจากนี้ คือแนวทางในการให้ความเข้าใจต่อคนรอบข้าง ที่จะทำให้เราสามารถนำไปฝึกฝนเพื่อดูแลความสัมพันธ์และหัวใจของคนรอบข้างได้ดียิ่งขึ้น

เข้าใจกันผ่านส่วนลึกของคำพูด ‘ทำไมคุยกันเท่าไหร่ ก็ไม่เข้าใจกันเสียที’

ข้อเขียนชิ้นนี้ คือการพาไปสำรวจสิ่งที่เรียกว่า ความรู้สึก ความคิด และความต้องการเบื้องลึก สามสิ่งที่ดูคล้ายแต่ความหมายนั้นแตกต่าง ซึ่งการทำความเข้าใจความหมายของสามสิ่งข้างต้นนั้น คือจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้และค้นหาเครื่องมือในการสื่อสารเพื่อรักษาความสัมพันธ์ โดยเฉพาะในวันที่เราต่างพร้อมจะขัดแย้งและทำลายกันได้ทุกเมื่อ

Deep Listening: “ฉันเกลียดพ่อ” ผ่านการฟัง 4 ระดับ

ทักษะการฟังอย่างลึกซึ้ง จะทำให้เราสามารถช่วยเหลือคนที่อยู่ตรงหน้าที่กำลังจมอยู่กับความทุกข์ของปัญหา เป็นการช่วยเหลือที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์อะไร เพียงใช้ทักษะที่ต้องหมั่นฝึกฝน

ทำความเข้าใจมนุษย์ 4 ข้อ เพื่อสร้างนิเวศแห่งการเรียนรู้ที่ดี

นิเวศ​การเรียนรู้ไม่ใช่หน้าที่ของครูแต่เพียงผู้เดียว แต่มีผู้เรียน ครู พ่อแม่ และชุมชน เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างระบบนิเวศที่เอื้อให้รากของการเรียนรู้ได้หยั่งลึกและกิ่งใบความคิดผลิดอกงอกงามในที่ทางอันหลากหลาย

เพราะโควิดคือภัยพิบัติ เปิดแผนปฎิบัติการพังงาสู้ไวรัสที่ทุกคนรอดไปด้วยกัน

15 ปีที่แล้ว พวกเขาเคยสู้กับสึนามิอันหนักหน่วง ส่วนวันนี้พวกเขามีคลื่นยักษ์เป็นเชื้อไวรัส ปฏิบัติการคนพังงาสู้ไวรัส โดยชาวบ้าน ภาคประชาสังคม และภาครัฐ จึงเริ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพื่อก้าวข้ามวิกฤติครั้งนี้ โดยไม่ทิ้งเพื่อนพ้องคนใดไว้ข้างหลัง

เมื่อกำแพงกันคลื่นระบาด บนชายหาดประเทศไทย

ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา แฮชแท็ก #saveหาดม่วงงาม บนเพจเฟซบุ๊ค Beach for Life เพื่อคัดค้านโครงการกำแพงกันคลื่นบนชายหาด ผู้คนทั้งในและนอกพื้นที่ต่างร่วมใจกันชูป้ายเพื่อส่งเสียงต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้น

“ไกลแค่ไหนก็ใกล้” Teach from Home อย่างไร ให้ครูรอด เด็กรู้

ไม่ต่างจากครูและเด็กนักเรียนทั่วประเทศ ที่อยู่ๆ ก็เหมือนถูกโยนลงทะเล ให้แหวกว่ายเอาตัวรอดกับการเรียนการสอนบนแพลตฟอร์มใหม่ ไหนจะความเหลื่อมล้ำที่ขยายรูกว้าง ซึ่งมาพร้อมกับเทคโนโลยีที่ไม่คุ้นเคย
ครูจะสอนอย่างไร เด็กจะเรียนแบบไหน? ความสัมพันธุ์ระหว่างมนุษย์จะสร้างผ่านหน้าจอได้หรือไม่? แล้วในสภาวะที่ทุกคนต่างเปราะบาง เราจะดูแลหัวใจของกันและกันอย่างไร?

lock down 100% คนโคกสลุงทำอย่างไรให้กินอิ่ม นอนหลับ แม้ไวรัสระบาด

ชุมชนไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ประกาศ lockdown ชุมชนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 งดการสัญจรทางไกล งดการทำกิจกรรมรวมกลุ่ม งดการพบปะเจอหน้าพูดคุยกันอย่างเคย และลดการเสพข่าวสารบนโลกออนไลน์ที่จะสร้างความตื่นตระหนกและสับสน ในบรรยากาศที่ทุกคนต่างหวาดกลัวภัยไวรัส

1 2