เศรษฐกิจความสุขไปด้วยกัน “คนพังงาทำได้ยังไง”

ความเข้มแข็งของคนพังงางอกงามขึ้นได้อย่างไร ถอดบทเรียนได้จากเวทีเสวนาเส้นทางสู่สถาบันการเรียนรู้พังงาแห่งความสุข ณ สำนักงานสมาคมประชาสังคมพังงาแห่งความสุข ตำบลตากแดด อำเภอเมือง จังหวัดพังงา เมื่อวันที่ 29 กันยายน ที่ผ่านมา

ปิดหู ปิดตา ปิดปากเด็ก: มายาคติเรื่องเพศที่ครอบงำครูและส่งผลต่อนักเรียนไทย

คุยกับ ดร.นรุตม์ ศุภวรรธนะกุล และ ดร.อัครา เมธาสุข แห่งคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในหัวข้องานวิจัย ‘ภายใต้ระบอบแห่งภาพลักษณ์: มายาคติทางเพศที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและทัศนคติของนักเรียนในพื้นที่การศึกษาไทย’

คำถามถึงทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เรากำลังพัฒนาหรือสร้างความเหลื่อมล้ำทับซ้อน

คุยกับนักวิจัยเรื่อง‘ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: มายาคติในการศึกษาไทย’ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยการสำรวจและรื้อถอนมายาคติทางการศึกษาในสังคมไทย ผู้ตั้งคำถามและพยายามหาคำตอบว่าตลอดเส้นทางแห่งการพัฒนาครั้งนี้ว่า “เรากำลังผลักใครตกหล่นไปหรือไม่”

“โลกนี้ต้องมีครูแนะแนว” วิชาที่ใครก็สอนได้ แต่ครูแบบไหนมากกว่าที่จะสอนได้ดี

ครูโปปุ้ย หรือ ครูปุ้ย – วรีย์ สืบสมุท ครูแนะแนววัย 35 ของเด็กๆ โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม เธอได้พบกับดักชิ้นใหญ่ในช่วงชีวิตการเป็นครู นั่นคือเสียงในหัวที่คั้งคำถามว่า “สิ่งที่เราสอน เด็กได้ประโยชน์จริงๆ ไหม และการที่เราให้เด็กไปแบบนี้ เด็กได้เอาไปใช้จริงๆ หรือ”

‘ภารกิจขายปลาทูต้มหวาน’ วัยรุ่นกลับบ้านเรียนวิชาทำมาหากิน

คุยกับ ‘พู่กัน มัณฑนศิลป์ จงไกรจักร์’ ลูกสาวของ ‘ไมตรี จงไกรจักร์’ ในวันที่โรคระบาดทำให้มหาวิทยาลัยปิดและต้องเดินทางกลับบ้านมาภารกิจขายปลาทูต้มหวาน เรียนวิชาทำมาหากิน

รถพุ่มพวงการศึกษา คุณครูไปหาถึงบ้าน ความรู้ก็เหมือนอาหาร ‘เลือกได้ จับต้องได้ ตอบโจทย์เด็ก’

ในวันที่ ‘เด็ก’ และ ‘โรงเรียน’ ห่างออกจากกัน การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร? คุยกับเหล่าคณะครูผู้ไม่ยอมแพ้ พยายามสร้างการเรียนรู้ให้ลูกศิษย์ของตัวเองท่ามกลางสถานการณ์โรคระบาด จนเกิดเป็นโปรเจ็กต์ ‘รถพุ่มพวงการศึกษา’ ที่คุณครูไปหาถึงบ้าน เด็กอยากเรียนอะไรเลือกได้เอง

เรียนวิชาทักษะชีวิตกับครูที่ชื่อว่า ‘พ่อแม่’

คุยกับ นก-ธนัน รัตนโชติ ผู้ก่อตั้ง PLANT-D สวนผักอินทรีย์ของคนเมือง ในบทบาทพ่อที่ตั้งใจและต้องการสร้างการเรียนรู้ให้ลูกด้วยสองมือของตัวเอง

‘ครูตุ๋ม’ วิภาวี พลตื้อ ครูเคมีผู้อยากสร้างเคมีที่เข้ากันกับเด็กๆ

คุยกับ ‘ครูตุ๋ม’ วิภาวี พลตื้อ หัวเรือใหญ่ในการผลักดันให้โรงเรียนแห่งนี้กลายเป็นโรงเรียนสิ่งแวดล้อม (Echo School) แห่งโรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชัดเจน-มีเป้าหมาย-เห็นใจผู้อื่น: 3 ทักษะสำคัญของผู้นำในภาวะวิกฤติ

งานวิจัยเรื่องการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพในภาวะผู้นำของ แจ็คเกอลีน (Jacqueline) และ มิลตัน เมย์ฟิล (Milton Mayfiel) ศาสตราจารย์ด้านการบริหารจัดการ (management) แห่ง Texas A&M International University สหรัฐอเมริกา ระบุไว้ว่า ผู้นำที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีคุณสมบัติ 3 ข้อ ดังนี้ 1.กำหนดทิศทางหรือมีแนวทางแก่ประชาชนอย่างชัดเจน 2.ทำทุกอย่างอย่างมีเป้าหมาย 3.มีความเห็นอกเห็นใจ

และไม่จำเป็นต้องสมบูรณ์แบบ…

1 2